Rabbit Care Logo
ใช้ใจแคร์ ดูแลครบ
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ในการเก็บข้อมูลเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการใช้งาน และเพื่อเก็บข้อมูลสถิติ ท่านสามารถศึกษารายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่นโยบายคุกกี้
info
🎵 เดือน 10 นี้!! Rabbit Care แจกลำโพง Marshall Emberton 2 และ Rabbit Voucher มูลค่ารวม 13,490 บาท แค่สมัครบัตรฯ UOB ผ่าน Rabbit Care คลิก! 💳

เปรียบเทียบสินเชื่อ ง่าย ๆ ภายใน 30 วินาที กับ

Rabbit Care

ก่อนผ่อนรถมอเตอร์ไซค์ควรรู้อะไรบ้าง
ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม มีคำตอบ!?

แน่นอนว่าหากรายรับน้อยกว่ารายจ่าย คงจะสร้างความหนักใจให้ใครหลายคนไม่น้อย ทำให้หลายคนเป็นหนี้ เช่น หนี้รถยนต์ หรือโดยเฉพาะหนี้บัตรเครดิต พอไม่มีความสามารถในการชำระหนี้ ก็มักจะหนี นำมาซึ่งความเสียหายถึงชีวิตและหน้าที่การงานของคุณ บางคนอาจโดนฟ้องยึดทรัพย์ ยึดบ้าน ทำให้บางคนสงสัยว่า การปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม แล้วจะมีคนให้กู้ต่อไหม มันคืออะไรกันแน่ วันนี้ แรบบิท แคร์ จะพาทุกคนไปหาคำตอบว่า ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม แล้วปรับอีกได้ไหม ไปดูกันเลย!!

ปรับโครงสร้างหนี้ คืออะไร?

การปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม ซึ่งจริง ๆ แล้วความหมายหรือนิยามก็คือ การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการชำระหนี้ เพื่อให้ลูกหนี้สามารถจ่ายหนี้ได้โดยไม่ผิดนัดชำระ อ้างอิงจากธนาคารแห่งประเทศไทย เพราะการค้างชำระหนี้มักจะนำมาสู่ผลเสียมากมาย เช่น ถูกคิดดอกเบี้ย หรือมีประวัติค้างจ่ายในข้อมูลเครดิตบูโร

การปรับโครงสร้างหนี้ ทำได้หลายวิธี เช่น ลดค่างวดโดยการขยายเวลาจ่ายหนี้ หรือเปลี่ยนเงื่อนไขการจ่ายหนี้เพื่อลดภาระดอกเบี้ย เป็นต้น อย่างไรก็ตาม คำถามที่ว่า การปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม ปกติแล้วการขอปรับโครงสร้างหนี้ มีผลต่อประวัติในเครดิตบูโรแตกต่างกันออกไป ดังนั้น แนะนำให้ขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญทางการเดินจากสถาบันทางการเงิน เพื่อประกอบการตัดสินใจ

ปรับโครงสร้างหนี้ มีกี่ประเภท?

ก่อนที่คุณจะกังวลว่า ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม มาศึกษาและทำความเข้าใจกันก่อนถึงประเภทของการปรับโครงสร้างหนี้ เพื่อเลือกวิธีที่เหมาะสมกับคุณมากที่สุด โดยจะเลือกวิธีไหนขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ เราจ่ายไหวแค่ไหน และ จำนวนเงินและระยะเวลาในการจ่ายหนี้

1. การเปลี่ยนประเภทหนี้

อย่าพึ่งตระหนกตกใจไปว่า เปลี่ยนประเภทหนี้ หรือ ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม จริง ๆ แล้วมันคือ การเปลี่ยนหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงเป็นหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำลง เช่น หนี้บัตรเครดิต หากคุณชำระไม่ตรงเวลาและไม่ครบจำนวน จะถูกคิดดอกเบี้ย 16% ต่อปี วิธีแก้คือ การขอเปลี่ยนเป็นสินเชื่อแบบมีกำหนดระยะเวลาชำระ (term loan) โดยข้อดีคือ มีกำหนดเวลาจ่ายคืนที่ชัดเจนขึ้น และอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง อย่างไรก็ตามจำนวนยอดที่ต้องจ่าย ขึ้นอยู่กับยอดหนี้ที่เราค้างจ่ายและระยะเวลาของสินเชื่อแบบ term loan วิธีนี้เหมาะกับ คนที่ยังจ่ายไหวแต่อยากลดภาระดอกเบี้ย

2. การรีไฟแนนซ์

ภาษาอังกฤษ เรียกว่า Refinance ถือเป็นการปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม ความหมายจริง ๆ คือการปิดหนี้จากเจ้าหนี้เดิมเพื่อย้ายไปกู้กับเจ้าหนี้รายใหม่ที่ให้อัตราดอกเบี้ยที่ถูกลง วิธีนี้สามารถใช้กับหนี้ชนิดอื่น ๆ ได้หมดเลย เช่น หนี้บัตรเครดิต หนี้บัตรกดเงินสด แต่มักจะนิยมใช้กับหนี้บ้าน

3. การลดอัตราดอกเบี้ย

การขอลดอัตราดอกเบี้ย เป็นอีกหนึ่งวิธีในการปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม? แต่ข้อดีคือทำให้ภาระหนี้ที่จะต้องจ่ายลดลงบางส่วน โดยสถาบันทางการเงินมักลดอัตราดอกเบี้ยให้เพื่อให้ลูกหนี้มีเวลาปรับตัวในช่วงที่รายได้ลดกะทันหัน เช่น 3 เดือน หรือ 6 เดือน เป็นต้น ซึ่งรายได้ที่ลดลงอาจมาจาก มีคนในครอบครัวตกงาน คือลูกหนี้ตกงาน ดังนั้นจึงเป็นวิธีที่เหมาะเมื่อรายได้เกิดลดลงแบบกะทันหัน

4. การพักชำระเงินต้น

การพักชำระเงินต้น เป็นหนึ่งในการปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม แล้วธนาคารให้ประนาณเท่าไหร่ ความหมายของมันคือการที่เราไม่ต้องจ่ายเงินต้นแต่ยังต้องจ่ายดอกเบี้ย ซึ่งจำนวนเงินต้นและดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับยอดหนี้ทั้งหมด ประเภทหนี้ ระยะเวลากู้ยืม และอัตราดอกเบี้ย ซึ่งธนาคารมักให้พักชำระเงินต้นประมาณ 3 - 6 เดือน เหมาะกับคนที่รายได้หรือรายรับลดลงเพียงไม่นานและสามารถกลับมาชำระหนี้ตามเดิมได้

5. การขยายเวลาชำระหนี้

เป็นการปรับโครงสร้างหนี้ เพื่อเพิ่มระยะเวลาในการจ่ายหนี้ และยอดผ่อนต่อเดือนลดลง บางคนขอเพิ่มได้ 5 ปี โดยระยะเวลาจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุลูกหนี้ ยอดหนี้ ประเภทหนี้ รวมถึงฐานะการเงินของลูกหนี้ ซึ่งการปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม ต้องตอบเลยว่ามีผลกระทบกับเครดิต และถ้ายิ่งผ่อนนาน จะทำให้เราต้องจ่ายดอกเบี้ยมากขึ้น

ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม?

แน่นอนว่าหลายคนคงสงสัยว่า การปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม เสียแน่นอนเนื่องจากคุณเป็นหนี้ และไม่สามารถชำระหนี้ได้ นอกจากนี้การปรับโครงสร้างนี้ยังสะท้อนถึงความสามารถในการชำระหนี้ที่น้อยลง อย่างไรก็ตาม เพื่อไม่ให้เกิดประวัติค้างชำระในข้อมูลเครดิตบูโรและเป็นการสร้างประวัติทางการเงินที่ดี เมื่อปรับโครงสร้างหนี้แล้ว ควรชำระหนี้ให้ได้ ตามจำนวนและตรงเวลาที่กำหนดไว้

ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม แล้วสถานะเครดิตบูโร ที่ลูกหนี้ไม่ควรละเลย และควรทราบ หลัก ๆ มีดังต่อไปนี้

  • สถานะบูโร 010 หรือ 10 : สถานะเป็นปกติ มีชำระหนี้ตรงเวลา จ่ายครบ ไม่มีหนี้ค้าง
  • สถานะบูโร 011 หรือ 11 : มีการชำระหนี้ครบตามจำนวน ไม่ว่าจะเป็นหนี้ใหม่ หรือหนี้ที่เคยค้างชำระไว้เป็นเวลานาน และปิดบัญชีเรียบร้อยแล้ว
  • สถานะบูโร 013 หรือ 13 : มีการขอพักชำระหนี้ตามนโยบายของรัฐ ทำให้สถานะไม่เป็นการค้างชำระ
  • สถานะบูโร 033 หรือ 33 : ปิดบัญชี เนื่องจากตัดเป็นหนี้สูญ

เคยปรับโครงสร้างหนี้ ทำบัตรเครดิตได้ไหม?

เมื่อทราบคำตอบแล้วในคำถามที่ว่า การปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม หลายคนก็กังวลต่อว่า แล้วเมื่อประวัติเสีย สามารถสมัครบัตรเครดิตได้ไหม เมื่อเคลียร์หนี้เก่าและปิดบัญชีเรียบร้อย…

สำหรับใครที่เคยปรับโครงสร้างหนี้ สามารถทำบัตรเครดิตได้ โดยการพิจารณาอนุมัติบัตรนั้นจะขึ้นอยู่กับฝ่ายงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง และ คุณสมบัติของผู้สมัครเบื้องต้น เช่น ข้อมูลเครดิตบูโร เอกสารแสดงรายได้ คุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขตามที่ธนาคารกำหนด ประวัติการชำระสินเชื่อที่มีกับสถาบันการเงินความสามารถในการผ่อนชำระ และ ภาระหนี้ที่มีกับทุกสถาบันการเงิน

เอกสารที่ใช้ประกอบการสมัครบัตรเครดิต

  • 1. ใบสมัครบัตรเครดิต และหนังสือให้ความยินยอมการตรวจสอบเครดิตบูโร
  • 2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
  • 3. สลิปเงินเดือนหรือหนังสือรับรองรายได้ (อายุไม่เกิน 3 เดือน)

คุณสามารถยื่นเอกสารสมัครบัตรเครดิตได้ที่ธนาคาร และระยะเวลาในการพิจารณาอนุมัติบัตรจะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของผู้สมัครและขึ้นอยู่กับแต่ละธนาคาร ดังนั้น เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาและได้รับการอนุมัติที่รวดเร็ว ควรเตรียมและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของเอกสารก่อนยื่นทุกครั้ง

ปรับโครงสร้างหนี้ ปรับอีกได้ไหม?

ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม แน่นอนว่าเสียประวัติ และถ้าปรับแล้ว สามารถปรับอีกได้ไหม เนื่องจากเงื่อนไขใหม่ที่ได้มาก็ยังเกินความสามารถในการจ่ายคืน ให้คุณเจรจากับธนาคารเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาจ่ายหนี้ไม่ได้ และถ้าขอปรับโครงสร้างหนี้อีก อาจทำได้ยากขึ้น เพราะมีผลแตกต่างกันต่อประวัติในเครดิตบูโร

ควรปรับโครงสร้างหนี้เมื่อไหร่?

ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม แล้วควรปรับเมื่อไหร่? จริง ๆ แล้วเป็นวิธีที่เสียประวัติการมีวินัยในการจ่ายหนี้ แต่ดีกว่าการหนีหนี้แน่นอน ควรเริ่มทำเมื่อพบว่าความสามารถในการชำระหนี้ไม่เหมือนเดิม เช่น หมุนเงินไม่ทัน รายได้ลดลง รายจ่ายเพิ่มขึ้น ดังนั้น ควรรีบติดต่อสถาบันทางการเงินอย่างเร็วที่สุด เพื่อไม่ให้เสียประวัติข้อมูลเครดิตไปมากกว่านี้ เพราะอาจส่งผลกระทบกับการขอสินเชื่ออื่น ๆ ในอนาคต

การรักษาเครดิตทางการเงิน ทำได้อย่างไรบ้าง?

จากคำถามที่ว่า ปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม หากคุณค้างชำระหนี้ ยังไงก็เสียประวัติ แรบบิท แคร์ มีวิธีการรักษาเครดิตทางการเงินมาฝากทุกคน ประกอบไปด้วย

  • การตรวจสอบหนี้ทั้งหมดที่เรามี เพื่อเห็นธุรกรรมทางการเงินของเราทั้งหมด ทำให้รู้ว่าตอนนี้มีหนี้ไหม มีเท่าไหร่ เพื่อที่จะบริหารจัดการถูก
  • หากมีหนี้ ควรวางแผนการชำระหนี้รายเดือนให้ดี เช่นแบ่งสัดส่วน รายรับและรายจ่าย รวมถึงการเก็บออม เพื่อจะได้มีเงินสำรองเผื่อเหตุฉุกเฉินในอนาคต
  • จ่ายหนี้ก่อนวันหรือตรงวันที่กำหนดไว้ และให้ตรงตามยอดที่กำหนด เพื่อป้องกันการค้างชำระหนี้
  • รีบปิดหนี้ให้เร็วที่สุด โดยการนำเงินก้อนที่มีมา โปะหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงๆ ให้หมดไว ๆ

เหล่านี้คือข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับการปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม และเป็นการตอบคำถามที่ว่า การปรับโครงสร้างหนี้ เสียประวัติไหม เชื่อว่าทุกคนที่อ่านมาคงได้คำตอบที่ชัดเจนพร้อมความรู้ในการบริหารจัดการตัวเองเพื่อไม่ให้เสียประวัติ ดังนั้น เพื่อเป็นการรวมหนี้ให้เป็นก้อนเดียว อย่าลังเลที่จะสมัครสินเชื่อส่วนบุคคล กับ แรบบิท แคร์ คุณจะได้ดอกเบี้ยที่ต่ำลง สามารถถอนออกมาใช้ได้ตลอด หากต้องการใช้เงินก้อนใหญ่ สามารถสมัครง่ายในไม่กี่ขั้นตอน ปลอดภัย อนุมัติไว สนใจโทรเลย 1438

สินเชื่อที่ แรบบิท แคร์ แนะนำ
CardX SPEEDY LOAN
  • ผ่อนนานสูงสุด 24 และ 72 เดือน
  • วงเงินกู้ถึงหลักล้าน
  • อัตราดอกเบี้ย 25% ต่อปี
  • มีอายุงานตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป
  • มีรายได้ต่อเดือน 15,000 บาทขึ้นไป
สินเชื่อบุคคลซิตี้
  • ผ่อนชิลๆ 60 เดือน
  • อนุมัติวงเงินสูงสุด 2 ล้านบาท
  • มีรายได้ต่อเดือน 20,000 บาทขึ้นไป
  • อายุงานตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป
  • ไม่เคยยื่นกับ Citi ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา
สินเชื่อส่วนบุคคล Happy Cash ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

LH Bank

  • ดอกเบี้ยต่ำ 8.88%/ปี*
  • วงเงินสูงสุด 1.5 ล้านบาท*
  • ผ่อนนานสูงสุด 60 เดือน*
  • ไม่ต้องค้ำประกัน
  • อายุงานไม่น้อยกว่า 1 ปีขึ้นไป
  • ทำงานในเขตกรุงเทพ และปริมณฑล
  • รายได้ต่อเดือนขั้นต่ำ 30,000 บาทขึ้นไป
สมัครสินเชื่อส่วนบุคคล TTB Cash2Go
  • อัตราดอกเบี้ยสูงสุด 25% ต่อปี
  • ไม่ต้องค้ำ
  • ดอกเบี้ยพิเศษ ลดต้นลดดอก
  • ผ่อนได้นานสุด 60 เดือน
  • วงเงินอนุมัติสูง 5 เท่าของรายได้
ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของเรา