สัญญาเงินกู้ คืออะไร ? มีความสำคัญอย่างไร ?
‘สัญญาเงินกู้’ สิ่งสำคัญที่เราจะละเลยหรือมองข้ามไปไม่ได้เมื่อมีการกู้เงิน หรือยืมเงินเกิดขึ้น แล้วสัญญาเงินกู้ สัญญากู้ยืมเงิน หนังสือสัญญาเงินกู้ หรือสัญญายืมเงิน แบบ ถูก กฎหมาย นั้นมีความสำคัญอย่างไร สัญญาเงินกู้ สัญญากู้ยืมเงิน หนังสือสัญญาเงินกู้ หรือสัญญายืมเงิน แบบ ถูก กฎหมายแบบต่าง ๆ สัญญา เงินกู้ ตาม กฎหมาย ใหม่ นั้นมีความแตกต่างกันอย่างไร วันนี้ แรบบิท แคร์ ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาเงินกู้ สัญญากู้ยืมเงิน หนังสือสัญญาเงินกู้ หรือสัญญายืมเงิน แบบ ถูก กฎหมายมาฝากให้ ลองไปอ่านทำความเข้าใจพร้อม ๆ กันได้เลย
สัญญาเงินกู้ คืออะไร ?
สัญญาเงินกู้ สัญญากู้ยืมเงิน หนังสือสัญญาเงินกู้ หรือสัญญายืมเงิน แบบ ถูก กฎหมาย สัญญา เงินผ่อน คือ สัญญาประเภทหนึ่งที่ใช้ในจุดประสงค์สำหรับการกู้ยืมเงินสดด้วยเหตุผลต่าง ๆ ถือเป็นเอกสารสำคัญที่เป็นประโยชน์ และช่วยรักษาผลประโยชน์ต่อการกู้ยืมเงินของทั้ง “ผู้กู้” และ “ผู้ให้กู้” โดยในใบสัญญาเงินกู้ สัญญากู้ยืมเงิน หนังสือสัญญาเงินกู้ หรือสัญญายืมเงิน แบบ ถูก กฎหมายจะมีส่วนสำคัญ 3 ส่วน ดังต่อไปนี้
- ระบุว่าผู้ให้กู้เงินต้องโอนกรรมสิทธิ์ในเงินให้กับผู้กู้เงิน
- ระบุว่าผู้กู้เงินจะต้องคืนเงินในจำนวนที่เท่ากันแทนเงินที่ยืมไป
- สัญญากู้ยืมจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อมีการส่งมอบเงินกู้
ที่สำคัญเพื่อป้องกันการถูกเอาเปรียบจากใบสัญญาเงินกู้ หรือป้องกันการโดนหลอกให้เซ็นสัญญา เงินกู้ นอก ระบบ ก่อนเซ็นในใบสัญญาเงินกู้ ผู้กู้เงินจะต้องตรวจสอบข้อมูล และทำความเข้าใจในเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ระบุเอาไว้อย่างระมัดระวัง เนื่องจากแม้ว่ารูป แบบ สัญญา เงินกู้จะไม่มีรูปแบบตายตัว แต่หากมีลายเซ็นของผู้กู้เงิน จะถือว่าผู้กู้เงินได้ยอมรับเงื่อนไข หรือข้อตกลงในใบสัญญาเงินกู้เป็นที่เรียบร้อยแล้วนั่นเอง
เอกสาร สัญญา เงินกู้ มีความสำคัญอย่างไร ?
หลายคนอาจตั้งข้อสงสัยว่าสัญญากู้เงิน สัญญากู้ยืมเงิน หนังสือสัญญาเงินกู้ หรือสัญญายืมเงิน แบบ ถูก กฎหมายนั้นมีความสำคัญอย่างไร ใช้เพียงสัญญาใจในการกู้ยืมเงินได้หรือไม่ ? คำตอบก็คือไม่ได้ เพราะหากกู้ยืมเงินโดยไม่มีสัญญาเงินกูเป็นลายลักษณ์อักษร มีเพียงแค่การรับปากหรือสัญญาใจ เมื่อเกิดปัญหาก็จะไม่มีหลักฐาน รวมทั้งไม่มีผลทางกฎหมาย ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าสัญญากู้เงิน ถือเป็นหลักฐานในการกู้เงินที่สำคัญที่จะขาดไปไม่ได้ในการกู้ยืมเงิน เพื่อเป็นการรักษาผลประโยชน์ให้ทั้งกับฝ่ายผู้กู้เงิน และผู้ให้กู้เงิน เพื่อไม่ให้มีการเอารัดเอาเปรียบกันเกิดขึ้นในทุกกรณี
สิ่งที่ต้องระบุในสัญญาเงินกู้
สำหรับใครที่ต้องการทำสัญญากู้เงินด้วยตนเอง แต่ไม่ทราบว่าจะต้องระบุอะไรลงไปในสัญญาบ้างก็ไม่ต้องกังวลใจ เพราะ แรบบิท แคร์ได้รวบรวมองค์ประกอบสำคัญที่ต้องระบุไว้ในสัญญากู้เงินมาให้ ดังนี้
- วันที่ซึ่งมีการทำสัญญากู้เงิน
- ชื่อ-นามสกุล ของผู้ขอกู้เงิน และผู้ให้กู้เงิน
- จำนวนเงินที่กู้ (ต้องมีการเขียนจำนวนเงินเป็นตัวหนังสือกำกับไว้ด้วย)
- กำหนดในการชำระเงินคืน
- ดอกเบี้ยต่อเดือน/ต่อปี (ถ้ามี)
- ลงลายมือชื่อผู้กู้ยืม
- ลงลายมือชื่อผู้ให้กู้ (มีหรือไม่มีก็ได้)
- อื่น ๆ เช่น สถานที่ทำสัญญา ผลของการผิดสัญญา พยานในการทำสัญญา เป็นต้น
สิ่งเหล่านี้ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สัญญากู้เงินทุกใบจะต้องมี เพื่อให้สัญญากู้เงินที่เราทำขึ้นมาเป็นสัญญากู้เงินที่มีรายละเอียดครบถ้วน รวมถึงมีความรัดกุมมากที่สุดนั่นเอง
การทำสัญญา กู้ยืม เงิน มี หลักประกัน ดีอย่างไร ?
สำหรับผู้ที่ต้องการทำสัญญากู้เงิน คงทราบกันดีอยู่แล้วว่าการทำสัญญาดังกล่าวนั้นจะมีแบบที่เป็นลักษณะมีหลักประกัน และไม่มีหลักประกัน ซึ่งการทำสัญญาเงินกู้แบบมีหลักประกัน จะมีข้อดีดังนี้
- เสียค่าดอกเบี้ยที่ค่อนข้างถูกเนื่องจากมีหลักประกัน
- ได้วงเงินในการกู้ยืมที่ค่อนข้างสูงเนื่องจากมีหลักประกัน
- สามารถทำการผ่อนได้นาน และยอดในการผ่อนต่อเดือนต่ำเนื่องจากมีหลักประกัน
ข้อดีเหล่านี้เป็นข้อดีของการทำสัญญาเงินกู้แบบมีหลักประกัน ซึ่งสำหรับใครที่กำลังลังเลใจว่าจะทำสัญญาเงินกู้แบบไหน ก็ลองนำไปเปรียบเทียบกับข้อดีในการทำสัญญาเงินกู้แบบไม่มีหลักประกันในหัวข้อถัดไปได้เลย
การทำสัญญา กู้ยืม เงิน แบบ ไม่มี หลักประกัน ดีอย่างไร ?
ทราบเกี่ยวกับข้อดีของการทำสัญญาเงินกู้แบบมีหลักประกันไปแล้ว ทีนี้ก็ลองมาดูข้อดีของการทำสัญญาเงินกู้แบบไม่มีหลักประกันกันดูบ้าง โดยการทำสัญญากู้เงินแบบไม่มีหลักประกัน จะมีข้อดีดังนี้
- ได้รับเงินกู้ค่อนข้างเร็ว เนื่องจากไม่ต้องมีขั้นตอนในการประเมินหลักทรัพย์ และขั้นตอนอื่น ๆ มากมายที่จะตามมาในการทำสัญญาแบบมีหลักประกันนั่นเอง
- ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ค่าประเมินหลักทรัพย์ ค่าจดจำนอง ค่าธรรมเนียมโอน ฯลฯ
ทราบข้อดีของการทำสัญญาเงินกู้ทั้ง 2 แบบไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ลองพิจารณาดูกันได้ว่าแบบไหนที่ตอบโจทย์เงื่อนไขที่เราตั้งเอาไว้ แล้วลงมือทำสัญญากันได้เลย
สัญญา กู้ ร่วม คืออะไร ?
ธนาคารกรุงไทยให้ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญากู้ร่วมว่า การทำสัญญากู้ร่วม คือ การทำสัญญากู้สินเชื่อก้อนเดียวกันร่วมกับบุคคลอื่น เพื่อเป็นการเพิ่มความมั่นใจว่าผู้กู้ทุกคนคนจะช่วยกันรับผิดชอบชำระหนี้ได้ตามกำหนด เป็นการเพิ่มโอกาสให้ธนาคารพิจารณาอนุมัติได้ง่ายขึ้น และมีโอกาสที่จะได้รับวงเงินสูงขึ้น
โดยสัญญากู้ร่วมต่างจากหนังสือสัญญา ค้ำประกัน เงินกู้ ตรงที่สัญญา ค้ำประกัน เงินกู้นั้นบุคคลผู้ค้ำประกันจะต้องเป็นผู้ชำระหนี้แทนหากผู้กู้ผิดสัญญา และความสัมพันธ์ของคนค้ำประกันกับผู้กู้ไม่จำเป็นต้องมีความเกี่ยวพันกัน ต่างจากการกู้ร่วมที่ผู้กู้ร่วมทุกคนต้องมีส่วนรับผิดชอบหนี้ที่เกิดขึ้น และทุกคนต้องมีความเกี่ยวโยงเป็นครอบครัวเดียวกัน
ดูตัวอย่าง สัญญา ค้ำประกัน เงินกู้ และตัวอย่างสัญญา เงินกู้ ตาม กฎหมาย ใหม่ ได้ที่ไหน ?
สำหรับใครที่ต้องการดูตัวอย่าง สัญญา ค้ำประกัน เงินกู้ และตัวอย่างสัญญา เงินกู้ ตาม กฎหมาย ใหม่ แต่ไม่ทราบว่าจะสามารถหาดูตัวอย่างสัญญา ค้ำประกันเงินกู้ และกู้สัญญา เงินกู้ ตาม กฎหมาย ใหม่ได้ที่ไหน ความจริงแล้วตัวอย่างสัญญาค้ำประกันเงินกู้ และกู้สัญญา เงินกู้ ตาม กฎหมาย ใหม่สามารถหาดูได้ตามอินเทอร์เน็ตทั่วไป โดยการเสิร์ชหาสัญญาตัวอย่างสัญญา ค้ำประกันเงินกู้ และกู้สัญญา เงินกู้ ตาม กฎหมาย ใหม่ ตามเว็บเบราว์เซอร์ต่าง ๆ นั่นเอง
ข้อควรระวังเกี่ยวกับสัญญาเงินกู้
นอกจากข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสัญญาเงินกู้ สัญญากู้ยืมเงิน หนังสือสัญญาเงินกู้ หรือสัญญายืมเงิน แบบ ถูก กฎหมายที่ได้ทราบกันไปแล้ว ในการทำสัญญาเงินกู้ยังมีข้อควรระวังที่ต้องพึงระลึกเอาไว้เสมอ โดยข้อควรระวังในการทำสัญญาเงินกู้ มีดังต่อไปนี้
- จะต้องไม่ลืมตรวจสอบจำนวนเงิน และทำความเข้าใจเนื้อหาในสัญญาเงินกู้อย่างละเอียดก่อนเซ็นสัญญาทุกครั้ง
- ห้ามลงลายมือชื่อในกระดาษเปล่า หรือสัญญาที่มีการเว้นช่องว่างผิดปกติอย่างเด็ดขาด เนื่องจากผู้ให้กู้อาจจะเติมข้อความหรือเนื้อหาอื่น ๆ ลงไปในสัญญาหลังจากที่เราเซ็นชื่อไปแล้ว ซึ่งถือว่ามีความเสี่ยงสูงมาก อาจทำให้เกิดปัญญาในอนาคตได้
- ในการกู้ยืมเงิน ไม่ควรนำโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับการทำประโยชน์ในที่ดิน (น.ส.3) ไปให้เจ้าหนี้ยึดถือไว้เป็นหลักประกันการกู้ยืมเงิน
- ในการทำสัญญาเงินกู้นั้น จะต้องมีการทำสัญญาอย่างน้อย 2 ฉบับ โดยให้ผู้กู้ยืมถือไว้ด้วย 1 ฉบับ
- ในสัญญาเงินกู้ควรที่จะมีลายเซ็นพยานฝ่ายผู้กู้ยืมอย่างน้อย 1 คน -ทุกครั้งในการชำระหนี้ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน จะต้องทำการขอรับใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานการรับเงินซึ่งมีลายมือชื่อผู้ให้กู้ยืมลงกำกับด้วยทุกครั้ง เพื่อเป็นหลักฐานยืนยันว่าได้ชำระหนี้แล้วส่วนนั้นไปแล้ว
- ต้องไม่ลืมว่าเมื่อชำระหนี้ทั้งหมดต้องขอสัญญากู้คืนจากผู้ให้กู้ยืมด้วย
สำหรับใครที่กังวลใจในการทำสัญญาเงินกู้ต่าง ๆ และไม่มีความรู้เกี่ยวกับการทำสัญญาเงินกู้แต่อยากกู้สินเชื่อส่วนบุคคล ก็ขอแนะนำให้เลือกกู้ยืมเงินกับสถาบันทางการเงินที่เชื่อถือได้ เช่น ทำการขอสินเชื่อเงินด่วน กับ แรบบิท แคร์ ซึ่งมีสิทธิประโยชน์ที่หลากหลาย กู้ง่าย ผ่อนสบาย มีผู้เชี่ยวชาญคอยแนะนำ และดูแลให้ในทุกขั้นตอนการทำเอกสารสัญญา
ข้อมูลเหล่านี้ เป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญเกี่ยวกับสัญญาเงินกู้ สัญญากู้ยืมเงิน หนังสือสัญญาเงินกู้ หรือสัญญายืมเงิน แบบ ถูก กฎหมาย สัญญา เงินกู้ ตาม กฎหมาย ใหม่ และสัญญา ค้ำประกัน เงินกู้ ที่ควรมีความรู้ติดตัวเอาไว้ เผื่อวันไหนที่จำเป็นจะต้องทำสัญญาจะได้ทราบกันไว้ ไม่ปล่อยให้ตนเองถูกเอาเปรียบกันง่าย ๆ ถือเป็นการรักษาผลประโยชน์ของตนเอง และป้องกันปัญญาใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นได้จากการกู้ยืมเงินโดยไม่ระมัดระวังนั่นเอง
สินเชื่อที่ แรบบิท แคร์ แนะนำ
SCBX
- ผ่อนนานสูงสุด 24 และ 72 เดือน
- วงเงินกู้ถึงหลักล้าน
- อัตราดอกเบี้ย 25% ต่อปี
- มีอายุงานตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป
- มีรายได้ต่อเดือน 15,000 บาทขึ้นไป
Citi
- ผ่อนชิลๆ 60 เดือน
- อนุมัติวงเงินสูงสุด 2 ล้านบาท
- มีรายได้ต่อเดือน 20,000 บาทขึ้นไป
- อายุงานตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป
- ไม่เคยยื่นกับ Citi ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา
LH Bank
- ดอกเบี้ยต่ำ 8.88%/ปี*
- วงเงินสูงสุด 1.5 ล้านบาท*
- ผ่อนนานสูงสุด 60 เดือน*
- ไม่ต้องค้ำประกัน
- อายุงานไม่น้อยกว่า 1 ปีขึ้นไป
- ทำงานในเขตกรุงเทพ และปริมณฑล
- รายได้ต่อเดือนขั้นต่ำ 30,000 บาทขึ้นไป
TTB
- อัตราดอกเบี้ยสูงสุด 25% ต่อปี
- ไม่ต้องค้ำ
- ดอกเบี้ยพิเศษ ลดต้นลดดอก
- ผ่อนได้นานสุด 60 เดือน
- วงเงินอนุมัติสูง 5 เท่าของรายได้